เลขที่ | หมวดหมู่ | ประเภท | ชื่อภาษาไทย | ชื่อภาษาอังกฤษ | สถานที่ลงนาม | วันที่ลงนาม / วันที่ได้รับการลงมติยอมรับ | สถานะการให้สัตยาบัน | การเริ่มมีผลบังคับใช้ | สถานะการมีผลบังคับใช้ | สาระสำคัญ | กฏหมายที่เกี่ยวข้อง | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
7.3 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
ความตกลง | Agreement for the Establishment of a Fund for ASEAN | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 23 กรกฎาคม 2537 |
|
|
ถูกยกเลิก
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
6 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
สนธิสัญญา | สนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญา | Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters (MLAT) | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 29 พฤศจิกายน 2547 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556
|
ข้อ 30-31
สนธิสัญญานี้ต้องได้รับการให้สัตยาบัน การยอมรับ หรือการภาคยานุวัติจากรัฐภาคีก่อน และจะเริ่มมีผลบังคับใช้กับแต่ละรัฐภาคีนับจากวันที่รัฐภาคีนั้นได้มีการส่งมอบสัตยาบันสาร ภาคยานุวัติสาร หรือหนังสือแสดงความยินยอมที่จะผูกพันตามข้อตกลงแล้วเท่านั้น |
มีผลบังคับใช้กับไทยตั้งแต่วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556
|
กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องให้ความช่วยเหลือทางอาญาระหว่างกันในเรื่องการสืบสวนสอบสวน การฟ้องคดี และกระบวนการอื่น โดยแต่ละประเทศต้องกำหนดให้มีผู้ประสานงานกลางเพื่อร้องขอหรือรับคำร้องขอความช่วยเหลือทางอาญาตามสนธิสัญญานี้
|
1. พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. ๒๕๓๕ 2. เอกสารประกอบการพิจารณาของรัฐสภา |
|||||||||||||||||||||||||
5 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
บันทึกความเข้าใจ | บันทึกความเข้าใจฉบับทบทวนว่าด้วยการจัดตั้งมูลนิธิอาเซียน | Revised Memorandum of Understanding on the Establishment of the ASEAN Foundation (Revised AF MOU) | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 25 กรกฎาคม 2543 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 25 พฤศภาคม พ.ศ. 2550
|
ข้อ 17
บันทึกความเข้าใจนี้จะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศภาคีทั้งหมดได้มีการส่งมอบสัตยาบันสารหรือหนังสือแสดงการยอมรับไปยังเลขาธิการอาเซียน |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2550
|
กำหนดให้มูลนิธิเป็นองค์การที่ไม่แสวงหากำไรและมีสถานะทางกฎหมาย รวมทั้งให้เอกสิทธิ์และความคุ้มกันแก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของมูลนิธิที่มีสถานะทางการทูตเพื่อประโยชน์สำหรับการปฏิบัติงาน
|
1. เนื่องจากบันทึกความเข้าใจนี้ เป็นเรื่องทางระหว่างประเทศ จึงไม่ต้องออกหรือแก้ไขกฎหมายภายในของประเทศไทย |
|||||||||||||||||||||||||
5.1 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
บันทึกความเข้าใจ | Memorandum of Understanding on the Establishment of the ASEAN Foundation | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 15 ธันวาคม 2540 |
|
|
ถูกยกเลิก
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
5.2 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Revised Memorandum of Understanding on the Establishment of the ASEAN Foundation | กรุงจาร์กาตา ประเทศอินโดนีเซีย | 2 ตุลาคม 2558 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
4 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
สนธิสัญญา | สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ) | กรุงเทพฯ ประเทศไทย (การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 5) | 15 ธันวาคม 2538 |
ไทยให้การสัตยาบันเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2540
|
ข้อ 16
สนธิสัญญานี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสาร และ/หรือภาคยานุวัติสารฉบับที่ 7 ไปยังเลขาธิการอาเซียน |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2540
|
กำหนดการกระทำพื้นฐานของประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องอาวุธนิวเคลียร์ที่ห้ามมิให้ดำเนินการ เช่น พัฒนา ผลิต ได้มา ครอบครอง หรือควบคุม จัดเก็บหรือขนส่ง ทดสอบหรือใช้อาวุธนิวเคลียร์ ภายในหรือภายนอกเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
1. เนื่องจากสนธิสัญญานี้เป็นเรื่องทางระหว่างประเทศ จึงไม่ต้องออกหรือแก้ไขกฎหมายภายในของประเทศไทย |
|||||||||||||||||||||||||
3 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
สนธิสัญญา | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC) | เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย (การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 1) | 24 กุมภาพันธ์ 2519 |
ไทยให้การสัตยาบันเมื่อวันที่ 21 พฤศภาคม พ.ศ. 2519 โดย ณ วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 สนธิสัญญาฯนี้มีภาคี 31 ประเทศ และ 1 กลุ่มประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เวียดนาม ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ ปาปัวนิวกินี จีน อินเดีย ญี่ปุ่น ปากีสถาน เกาหลีใต้ รัสเซีย มองโกเลีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส ติมอร์เลสเต ศรีลังกา บังกลาเทศ เกาหลีเหนือ สหรัฐอเมริกา ตุรกี แคนาดา สหราชอาณาจักร บราซิล นอร์เวย์ และสหภาพยุโรป
|
ข้อ 19
สนธิสัญญานี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 5 ไปยังประเทศภาคีที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายทะเบียน) |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2519
|
ส่งเสริมสันติภาพ มิตรภาพ และ
ความร่วมมือกัน กำหนดหลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค ดังนี้ (๑) การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเสมอภาค และบูรณภาพแห่งดินแดน (๒) การไม่แทรกแซงกิจการภายใน (๓) การแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี (๔) การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง (๕) การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันและการระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี |
1. เนื่องจากสนธิสัญญานี้เป็นเรื่องทางระหว่างประเทศ จึงไม่ต้องออกหรือแก้ไขกฎหมายภายในของประเทศไทย |
|||||||||||||||||||||||||
3.1 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | พิธีสารที่ ๑ เพื่อแก้ไขสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | Protocol Amending the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia | กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ (การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 3) | 15 ธันวาคม 2530 |
ไทยให้การสัตยาบันเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2531
|
ข้อ 3
พิธีสารนี้จะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศภาคีทั้งหมดได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียน |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2531
|
พิธีสารแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฉบับที่ 1 มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อเปิดโอกาสสำหรับการภาคยานุวัติโดยรัฐนอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2) เพื่อให้การภาคยานุวัติโดยรัฐอื่นนอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะต้องได้รับความยินยอมของทุกประเทศอัครภาคีซึ่งเป็นรัฐในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน และ 3) เพื่อเปิดโอกาสให้รัฐนอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้ให้การภาคยานุวัติสามารถส่งตัวแทนเข้าร่วมเป็นคณะอัครมนตรีในการดำเนินการยุติข้อพิพาทที่รัฐนั้นมีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง
|
||||||||||||||||||||||||||
3.2 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Second Protocol Amending the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia | กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ | 25 กรกฎาคม 2541 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2543
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
3.3 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Third Protocol Amending the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia | กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม | 23 กรกฎาคม 2553 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที 8 มิถุนายน พ.ศ. 2555
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
2 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
ความตกลง | ความตกลงว่าด้วยการก่อตั้งสำนักเลขาธิการอาเซียน | Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat | เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย | 24 กุมภาพันธ์ 2519 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2519
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2519
|
จัดตั้งสำนักเลขาธิการอาเซียน และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง เช่น องค์ประกอบ กฎข้อบังคับผู้ปฏิบัติงาน งบประมาณ และเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน
|
1. เนื่องจากความตกลงนี้เป็นเรื่องทางระหว่างประเทศ จึงไม่ต้องออกหรือแก้ไขกฎหมายภายในของประเทศไทย |
|||||||||||||||||||||||||
2.1 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 27 มกราคม 2526 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2526
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
2.2 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 9 กรกฎาคม 2528 |
|
|
มีผลบังคับใช้กับไทยตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2529
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
2.3 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat | กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไน | 4 กรกฎาคม 2532 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฏาคม พ.ศ. 2532
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
2.4 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat | กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ | 22 กรกฎาคม 2535 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2535
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
2.5 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on the Establishment of the ASEAN Secretariat | เมืองสุบังจายา ประเทศมาเลเซีย | 3 กรกฎาคม 2540 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฏาคม พ.ศ. 2540
|
|
|||||||||||||||||||||||||||
1 |
- เสาประชาคมการเมือง ความมั่นคงอาเซียน |
ปฏิญญา | ปฏิญญากรุงเทพ | The ASEAN Declaration (Bangkok Declaration) | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 8 สิงหาคม 2510 |
ประเทศไทย ลงนามเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510
|
ก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งกำหนดวัตถุประสงค์และกลไกการดำเนินงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
|