เลขที่ | หมวดหมู่ | ประเภท | ชื่อภาษาไทย | ชื่อภาษาอังกฤษ | สถานที่ลงนาม | วันที่ลงนาม / วันที่ได้รับการลงมติยอมรับ | สถานะการให้สัตยาบัน | การเริ่มมีผลบังคับใช้ | สถานะการมีผลบังคับใช้ | สาระสำคัญ | กฏหมายที่เกี่ยวข้อง |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
28.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol to Amend the Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA) | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 25 ธันวาคม 2538 |
|
ข้อ 5
พิธีสารนี้จะมีผลบังคับใช้เมื่อประเทศภาคีทั้งหมดได้ส่งมอบสัตยาบันสารหรือหนังสือแสดงการยอมรับไปยังเลขาธิการอาเซียน ซึ่งจะต้องกระทำภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2539 |
พิธีสารนี้ได้ถูกยกเลิกและแทนที่ด้วย ASEAN Trade in Goods Agreement ลงนามเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 (ตามมาตรา 91(2) ของ ATIGA)
|
|
||
28.2 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol regarding the Implementation of the CEPT Scheme Temporary Exclusion List | ประเทศสิงคโปร์ | 23 พฤศจิกายน 2543 |
|
ข้อ 12
พิธีสารนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ได้มีการลงนาม |
พิธีสารนี้ได้ถูกยกเลิกและแทนที่ด้วย ASEAN Trade in Goods Agreement ลงนามเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 (ตามมาตรา 91(2) ของ ATIGA)
|
|
||
28.3 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol to Amend the Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA) for the Elimination of Import Duties | - | 31 มกราคม 2546 |
|
ข้อ 2
พิธีสารนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ได้มีการลงนาม |
พิธีสารนี้ได้ถูกยกเลิกและแทนที่ด้วย ASEAN Trade in Goods Agreement ลงนามเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 (ตามมาตรา 91(2) ของ ATIGA)
|
|
||
27 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
บันทึกความเข้าใจ | Memorandum of Understanding on Brand-to-Brand Complementation on the Automotive Industry under the Basic Agreement on ASEAN Industrial Complementation | พัทยา ประเทศไทย | 18 ตุลาคม 2531 |
|
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2531
|
บันทึกความเข้าใจว่าด้วยโครงการแบ่งผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เฉพาะยี่ห้อและรุ่นของอาเซียน โดยมี มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทยเข้าร่วมในโครงการนำร่องโครงการแรกภายใต้บันทึกความเข้าใจนี้
|
||
27.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol to Amend the Memorandum of Understanding on Brand-to-Brand Complementation on the Automotive Industry under the Basic Agreement on ASEAN Industrial Complementation | - | 2 มีนาคม 2538 |
|
พิธีสารนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ได้มีการลงนาม
|
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538
|
|
||
26 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Agreement on the Establishment of the ASEAN Tourism Information Centre | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 26 กรกฎาคม 2531 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531
|
ข้อ 10
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 6 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2533
|
บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยวอาเซียน
|
||
25 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
บันทึกความเข้าใจ | Memorandum of Understanding on Standstill and Rollback on Non-Tariff Barriers among ASEAN Countries | กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ | 15 ธันวาคม 2530 |
|
ข้อ 9
บันทึกความเข้าใจนี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ได้มีการลงนาม โดยเบื้องต้น จะมีผลผูกพันต่อเนื่องไปเป็นระยะเวลา 5 ปีนับจากวันที่เริ่มมีผลบังคับใช้ |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2530
|
"Standstill and rollback commitments" คือข้อผูกพันต่อรัฐภาคีมิให้เพิ่มอุปสรรคทางการค้าและต้องค่อยๆ ผ่อนปรน ยกเลิกอุปสรรคที่มีอยู่เดิมออกไป
|
||
24 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Agreement of the Preferential Shortlisting of ASEAN Contractors | กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย | 20 ตุลาคม 2529 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529
|
ข้อ 5
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 6 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2531
|
ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้าง
|
||
24.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol to Amend ASEAN Agreements | เมืองสุบังจายา ประเทศมาเลเซีย | 23 กรกฎาคม 2540 |
|
ข้อ 4
พิธีสารนี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ได้มีการลงนาม |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540
|
|
||
23 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Agreement on ASEAN Energy Cooperation | กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ | 24 มิถุนายน 2529 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2529
|
ข้อ 9
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 6 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2513
|
ความตกลงอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านพลังงาน เป็นความตกลงเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความยั่งยืนในการจัดหาพลังงาน การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในภูมิภาคอาเซียน และการจัดการด้านความต้องการพลังงานอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงปัจจัยด้านสภาพสิ่งแวดล้อม โดยความตกลงนี้ได้กำหนดขอบเขตความร่วมมือไว้หลายด้าน อาทิเช่น การวางยุทธศาสตร์ การพัฒนาการจัดการแหล่งพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เป็นต้น
|
||
23.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on ASEAN Energy Cooperation | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 15 ธันวาคม 2538 |
|
ข้อ 5
พิธีสารนี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ได้มีการลงนาม |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538
|
|
||
23.2 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol Amending the Agreement on the ASEAN Energy Cooperation | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 23 กรกฎาคม 2540 |
|
ข้อ 4
พิธีสารนี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ได้มีการลงนาม โดยจะมีผลบังคับใช้ย้อนหลังตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538
|
|
||
22 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Agreement on the Recognition of Domestic Driving Licenses Issued by ASEAN Countries | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 9 กรกฎาคม 2528 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2530
|
มาตรา 10
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 6 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2531
|
ความตกลงว่าด้วยการยอมรับใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ในประเทศที่ออกโดยประเทศอาเซียน
|
||
22.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol to Amend ASEAN Agreements | เมืองสุบังจายา ประเทศมาเลเซีย | 23 กรกฎาคม 2540 |
|
|
|
|
||
21 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | ASEAN Agreement on the Conservation of Nature and Natural Resources (ACNNR) | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 9 กรกฎาคม 2528 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 โดย ณ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2558 จาก 6 ประเทศสมาชิกที่เข้าร่วมลงนาม มี 3 ประเทศที่ได้ให้สัตยาบันแล้ว ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
|
ข้อ 33
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 6 หลังจากนั้นจะมีผลบังคับใช้กับประเทศสมาชิกที่เข้าร่วมเป็นภาคีในภายหลังเมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับจากวันที่ได้มีการส่งมอบภาคยานุวัติสาร |
ยังไม่มีผลบังคับใช้
|
ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนความร่วมมือกันในการพัฒนาและกำหนดมาตราการในการอนุรักษ์ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ และเพื่อให้มั่นใจว่าอาเซียนจะสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
|
||
20 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Basic Agreement on the ASEAN Industrial Complementation (AIC) | กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ | 18 มีนาคม 2524 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2524 โดยจากประเทศที่ได้เข้าร่วมลงนาม มีเพียงสิงคโปร์ที่ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน
|
ข้อ 7
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 5 |
ยังไม่มีผลบังคับใช้
|
ความตกลงว่าด้วยโครงการแบ่งผลิตทางอุตสาหกรรมของอาเซียน
|
||
19 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Basic Agreement on ASEAN Industrial Projects (AIP) | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 6 มีนาคม 2523 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2524
|
ข้อ 18
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 5 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524
|
ความตกลงว่าด้วยโครงการอุตสาหกรรมของอาเซียน
|
||
19.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Supplementary Agreement to the Basic Agreement on ASEAN Industrial Projects: ASEAN Urea Project (Indonesia) | กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย | 6 มีนาคม 2523 |
|
|
|
|
||
18 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
ความตกลง | Agreement on the ASEAN Food Security Reserve (AFSR Agreement) | นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา | 4 ตุลาคม 2522 |
ไทยได้ส่งมอบสัตยาบันสารไปยังเลขาธิการอาเซียนเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2523
|
ข้อ 9
ความตกลงนี้จะเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนด 30 นับจากวันที่มีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับที่ 5 |
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฏาคม พ.ศ. 2523
|
ความตกลงว่าด้วยการสำรองเพื่อความมั่นคงทางด้านอาหาร
|
||
18.1 |
- เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
พิธีสาร | Protocol to Amend the Agreement on the ASEAN Food Security Reserve (AFSR 1st Protoco) | กรุงเทพฯ ประเทศไทย | 22 ตุลาคม 2525 |
ณ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2558 มีเพียงอินโดนีเซียจากประเทศสมาชิกที่เป็นผู้ลงนามเดิมได้แสดงการยอมรับ แต่มีประเทศสมาชิกที่ได้แสดงการยอมรับโดยการภาคยานุวัติแล้ว 5 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม
|
พิธีสารนี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่รับการยอมรับจากรัฐภาคี
|
ยังไม่มีผลบังคับใช้
|
|